บทความทางวิชาการ
ลำดับ | รายละเอียด | Download |
1 | เคยรู้จักเครื่องดื่มโพรไบโอติกหรือไม่? ทำเองได้หรือเปล่านะ? แล้วเกี่ยวข้องกับจุลชีววิทยาอย่างไร?
วันนี้ เรามีคำตอบ …. จึงขอเสนอเกร็ดความรู้ เรื่อง คีเฟอร์น้ำ (Water Kefir) เรียบเรียงโดย ผศ.ดร.จินตนา ว่องวิกย์การ อาจารย์ภาควิชาจุลชีววิทยาและปรสิตวิทยา คณะวิทยาศาสตร์การแพทย์ มหาวิทยาลัยนเรศวร ————————————————————— ประกอบด้วยหัวข้อต่างๆ ดังนี้ -คีเฟอร์น้ำ คืออะไร? -หมักด้วยจุลินทรีย์ (symbiotic culture) -Water krfir แตกต่างจากเครื่องดื่มหมักอื่นอย่างไร -ประโยชน์ของคีเฟอร์น้ำ -วิธีทำคีเฟอร์น้ำ #เรียบเรียงโดย ผศ.ดร.จินตนา ว่องวิกย์การ #สัปดาห์วิทยาศาสตร์ |
|
2 | โรคอุจจาระร่วง คืออะไร? คนส่วนใหญ่จะทราบว่าเกิดจากการอุปโภคบริโภคที่ไม่ถูกสุขลักษณะ การรักษาความสะอาดจึงเป็นสิ่งสำคัญที่เราควรตระหนักถึงเพื่อสุขภาพที่ดีของตัวเราเอง วันนี้ขอเสนอเกร็ดความรู้ เรื่อง #โรคอุจจาระร่วงจากเชื้อ Enterotoxigenic Escherichai coli (ETEC) เรียบเรียงโดย ดร.รัมภา จุฑะกนก อาจารย์ภาควิชาจุลชีววิทยาและปรสิตวิทยา คณะวิทยาศาสตร์การแพทย์ มหาวิทยาลัยนเรศวร
—————————————————————— โดยมีหัวข้อดังนี้ -Enterotoxigenic Escherichai coli (ETEC) -สาเหตุการเกิดโรค -กลไกการก่อโรคของ ETEC -อาการของโรคและการตรวจวินิจฉัย #เรียบเรียงโดย ดร.รัมภา จุฑะกนก #สัปดาห์วิทยาศาสตร์ |
|
3 | เคยได้ยินเห็ดถั่งเช่าหรือไม่? เกี่ยวข้องอย่างไรกับเชื้อรา? แล้วเชื้อราสามารถฆ่าแมลงได้จริงหรือ วันนี้มีคำตอบ…ขอนำเสนอเกร็ดความรู้ เรื่อง ราแมลง เรียบเรียงโดย ผศ.ดร.สุภาพร ล้ำเลิศธน อาจารย์ภาควิชาจุลชีววิทยาและปรสิตวิทยา คณะวิทยาศาสตร์การแพทย์ มหาวิทยาลัยนเรศวร
—————————————————————— โดยมีหัวข้อดังนี้ -ราแมลง คือ อะไร -ราแมลงมีลักษณะพิเศษอย่างไร -ตัวอย่างของราแมลงที่นำมาใช้ประโยชน์ #เรียบเรียงโดย ผศ.ดร.สุภาพร ล้ำเลิศธน #สัปดาห์วิทยาศาสตร์ |
|
4 | พยาธิเข็มหมุดมีหน้าตาเป็นอย่างไร? จะรู้ได้อย่างไรว่าลูกหลานมีพยาธิชนิดนี้อยู่ในร่างกาย? สามารถสังเกตได้อย่างไร? และจะสามารถป้องกันและรักษาอย่างได้ไร? วันนี้ขอนำเสนอเกร็ดความรู้ เรื่อง โรคพยาธิเข็มหมุด (Enterobiasis) ในเด็ก เรียบเรียงโดย รศ.ดร.อภิชาติ วิทย์ตะ อาจารย์ภาควิชาจุลชีววิทยาและปรสิตวิทยา คณะวิทยาศาสตร์การแพทย์ มหาวิทยาลัยนเรศวร
—————————————————————— โดยมีหัวข้อดังนี้ -โรคพยาธิเข็มหมุด (Enterobiasis) -วงจรชีวิตของพยาธิเข็มหมุดและการติดต่อมาสู่คน -การระบาดของโรคพยาธิเข็มหมุด -อาการสำคัญของโรคพยาธิเข็มหมุด -การวินิจฉัยโรคพยาธิเข็มหมุด -การรักษาโรคพยาธิเข็มหมุด -การป้องกันการติดโรคพยาธิเข็มหมุด #เรียบเรียงโดย รศ.ดร.อภิชาติ วิทย์ตะ #สัปดาห์วิทยาศาสตร์ |
|
5 | อาหารแห่งสุขภาพคืออะไรกันนะ? เกี่ยวข้องอย่างไรกับจุลชีววิทยา? มีประโยชน์อย่างไรต่อร่างกาย จริงๆแล้ว เราอาจจะรับประทานเป็นประจำทุกวันอยู่แล้ว… วันนี้จึงขอเสนอเกร็ดความรู้เล็กๆน้อยๆ เรื่อง Functional Foods เทรนด์อาหารแห่งสุขภาพ เรียบเรียงโดย อาจารย์รัตติญา ชีวาพัฒน์ อาจารย์ภาควิชาจุลชีววิทยาและปรสิตวิทยา คณะวิทยาศาสตร์การแพทย์ มหาวิทยาลัยนเรศวร
—————————————————————— โดยมีหัวข้อดังนี้ -ธุรกิจอาหารและเครื่องดื่มในอนาคต -กลุ่มของอาหารฟังก์ชัน แยกตามหมวดหมู่ของอาหาร -ตัวอย่างผลิตภัณฑ์อาหารฟังก์ชันที่จำหน่ายในปัจจุบัน #เรียบเรียงโดย อาจารย์รัตติญา ชีวาพัฒน์ #สัปดาห์วิทยาศาสตร์ |
|
6 | หลายคนคงเคยได้ยินคอมบูชา (Kombucha) แล้วรู้หรือไม่ว่าเกี่ยวข้องกับจุลินทรีย์ยังไง? ใช้เชื้อจีนัส สปีชีส์ไหนบ้าง? และมีประโยชน์อย่างไรต่อสุขภาพ… วันนี้เรามีคำตอบ จึงขอเสนอเกร็ดความรู้เล็กๆน้อยๆ เรื่อง Kombucha เรียบเรียงโดย ผศ.ศรีสุดา กวยาสกุล อาจารย์ภาควิชาจุลชีววิทยาและปรสิตวิทยา คณะวิทยาศาสตร์การแพทย์ มหาวิทยาลัยนเรศวร —————————————————————— โดยมีหัวข้อดังนี้ -คอมบูชา หรือชาหมัก คืออะไร -เกี่ยวข้องอย่างไรกับจุลินทรีย์? -ส่วนประกอบของหัวเชื้อหรือ SCOBY -ประโยชน์และคุณค่าทางอาหารของคอมบูชา #เรียบเรียงโดย ผศ.ศรีสุดา กวยาสกุล #สัปดาห์วิทยาศาสตร์ #จุลชีววิทยาและปรสิตวิทยา #ม.นเรศวร |
|
7 | เมื่อได้ยินคำว่าแบคทีเรีย คนส่วนมากจะเข้าใจว่าเป็นอันตราย แต่รู้หรือไม่ว่าแบคทีเรียที่มีประโยชน์ก็มีอยู่มากเช่นกัน? วันนี้จึงขอเสนอเเบคทีเรียที่มีประโยชน์จีนัสหนึ่ง ชื่อว่า บิฟิโดแบคทีเรียม เรียบเรียงโดย ดร.สงกรานต์ เชื้อครุฑ อาจารย์ภาควิชาจุลชีววิทยาและปรสิตวิทยา คณะวิทยาศาสตร์การแพทย์ มหาวิทยาลัยนเรศวร —————————————————————— โดยมีหัวข้อดังนี้ -บิฟิโดแบคทีเรียม โพรไบโอติกแบคทีเรีย -กลุ่มของบิฟิโดแบคทีเรียมตามแหล่งอาศัย -ประโยชน์ของบิฟิโดแบคทีเรียม #เรียบเรียงโดย ดร.สงกรานต์ เชื้อครุฑ #สัปดาห์วิทยาศาสตร์ #จุลชีววิทยาและปรสิตวิทยา #ม.นเรศวร |
|
8 | ทุกคนเชื่อหรือไม่ว่า แบคทีเรีย Xenorhabdus และ Photorhabdus อาศัยอยู่กับไส้เดือนฝอยศัตรูแมลง และแบคทีเรียทั้งสองจีนัสนี้ ยังสามารถผลิตสารทุตยภูมิที่มีฤทธิ์ต่างๆมากมายได้อีกด้วย สามารถหาคำตอบได้ในเกร็ดความรู้ เรื่อง สารทุติยภูมิที่ผลิตจากแบคทีเรีย Xenorhabdus และ Photorhabdus เรียบเรียงโดย ดร.อัญชลี ฐานวิสัย อาจารย์ภาควิชาจุลชีววิทยาและปรสิตวิทยา คณะวิทยาศาสตร์การแพทย์ มหาวิทยาลัยนเรศวร —————————————————————— โดยมีหัวข้อดังนี้ -แบคทีเรีย Xenorhabdus และ Photorhabdus -สารทุติยภูมิที่ผลิตจากแบคทีเรีย Xenorhabdus และ Photorhabdus #เรียบเรียงโดย ดร.อัฐชลี ฐานวิสัย #สัปดาห์วิทยาศาสตร์ #จุลชีววิทยาและปรสิตวิทยา #ม.นเรศวร |